Search

วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

8.Vertical Curve

โค้งดิ่ง (Vertical Curve or Profile Grade)

\ที่มา : https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRfCl5cc
 fRlGOEzytk77u11ZjVhOb0Eja5ZgUEIgDMNOSJogRZs

         ปกติในแบบก่อสร้างของกรมทางหลวงจะกำหนดค่าระดับก่อสร้างพร้อมทั้งข้อมูลโค้งตั้ง (Vertical Curve) ไว้แล้ว โปรแกรมนี้จะนำข้อมูลโค้งตั้งมาคำนวณค่าระดับก่อสร้าง เพื่อตรวจสอบกับค่าระดับก่อสร้างที่กำหนดไว้ว่าตรงกันหรือไม่ เนื่องจากอาจมีค่าตัวเลขที่ผิดพลาดไปอันเกิดมาจากการลอกแบบ (Draft)  หรือเกิดจากการแก้ไขแบบในขณะออกแบบข้อมูลที่ใช้ประกอบด้วย
- Station เริ่มต้น
ค่าระดับ (Elevation) ที่ Station เริ่มต้น
- PVI Station
ค่าระดับ (Elevation) ที่ PVI Station นั้น
- Lin (ความยาวโค้งด้านเข้าที่ PVI Sta. นั้น คือระยะราบจาก PVC - PVI)
- Lout (ความยาวโค้งด้านออกที่ PVI Sta. นั้น คือระยะราบจาก PVI - PVT)
https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEh3pbbFKZ-zO-0vrdT4N77ZE7_wHeVsVLcOEV-U0C0AoOnX7zMjUSKW0nrMUl8888bwDwXqIs19LiklTsLbOTSk8Bk4M6HPtSwNNEWvwvjidD28SarTPEFIh3QIIEWknl-xQ9wRrdts_XDOdovVka8SGDjVXJd4kTZx__WxzQOfdORK=               https://blogger.googleusercontent.com/img/proxy/AVvXsEh3pbbFKZ-zO-0vrdT4N77ZE7_wHeVsVLcOEV-U0C0AoOnX7zMjUSKW0nrMUl8888bwDwXqIs19LiklTsLbOTSk8Bk4M6HPtSwNNEWvwvjidD28SarTPEFIh3QIIEWknl-xQ9wRrdts_XDOdovVka8SGDjVXJd4kTZx__WxzQOfdORK=
- Station สุดท้าย

ค่าระดับ (Elevation) ที่ Station สุดท้าย
ที่มา : http://kontumntang.com/images/roadwork_content/vcurve/image004.png

หมายเหตุ   - ระหว่าง Station เริ่มต้นถึง Station สุดท้าย มีได้หลาย PVI Sta.
                - Lin จะเท่ากับ Lout หรือไม่ก็ได้
- Station ที่เป็น Equation ต้องเตรียมไว้ด้วย
การสร้างถนนไม่สามารถกำหนดให้ระดับก่อสร้างอยู่ในระดับราบได้ตลอด เพราะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงไม่สม่ำเสมอ เพื่อให้การเปลี่ยนทิศทางของถนนในทิศทางขึ้น และลงราบเรียบ จึงต้องใช้โค้งพาราโบลาในการปรับระดับเนื่องจากเป็นโค้งที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าอนุพันธ์อันดับที่หนึ่งเป็นเส้นตรงและมีค่าอนุพันธ์อันดับที่สอง เป็นค่าคงที่ทำให้การเปลี่ยนแปลงระดับเส้นโค้งมีความราบเรียบ(smooth transition) 
            คุณสมบัติของพาราโบลา
ที่มา : http://www.kontumntang.com/index.php/download/9-used-data-category

การเลื่อนจุด Vertex ของพาราโบลา 
   ในการเลื่อนจุด Vertex ของพาราโบลาจากจุด (0,0)ไปยังจุด (h, k) ค่าของ ในสมการจะเปลี่ยนเป็น  ( x-h ) และค่า y ในสมการจะเปลี่ยนเป็น ( y-k )




สรุป รูปแบบของสมการพาราโบลาที่สามารถใช้ในการคำนวณโค้งดิ่ง

> > > 1. คำนวณค่าระดับบนโค้งดิ่งด้วยวิธี Offset Form < < <


สิ่งที่ควรรู้  1. PVC คือ จุดเริ่มโค้ง (point of curvature)
              2. PVT คือ จุดสุดโค้ง (point of tangency)
              3. PVI คือ จุดเปลี่ยนโค้ง(point of intersection)
              4. L คือ ความยาวโค้ง (length of curve) เป็นความยาวโค้งในแนวราบ (horizontal            surface)
              5. l  คือ ครึ่งหนึ่งของความยาวโค้งในแนวราบ (L/2)
              6.  g1 คือ เกรด (%) ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PC (Back tangent)
              7.  g2 คือ เกรด(%)ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PT (Forward tangent)
              8. A คือ ผลต่างทางพีชคณิตของเกรดระหว่าง  PC และPT ที่จุด PI  (A = g2-g1)
A > 0  โค้งดิ่งหงาย (sag curve)

A < 0  โค้งดิ่งคว่ำ (summit curve)
              9. e = ระยะในแนวดิ่งระหว่าง PI กับเส้นโค้งพาราโบลา
           10.  ผลต่างของระยะในแนวราบจากจุดเริ่มต้นโค้ง (PVC) ถึงจุด (STA) ใดๆบนเส้นโค้ง
           11.  = ผลต่างของระยะในแนวดิ่ง (offset) จากจุด (STA) ใดๆบนเส้นโค้งถึงเส้นเกรด
     - ตัวอย่าง  คำนวณค่าระดับทุกๆ ระยะ 25 เมตรบนโค้งดิ่งที่ประกอบด้วยเส้นเกรด (Grade line) ที่มีความชัน +1% (upgrade, g1) และ -2% (downgrade, g2) ตัดกันที่จุด PVI STA. 10+500 มีค่าระดับ = 100 เมตร และกำหนดให้มีความยาวของเส้นโค้งในแนวราบ(horizontal surface, L) = 200 เมตร
  ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
  1. คำนวณค่า  โดยใช้สูตร  , ค่า h โดยใช้สูตร  และค่า โดยใช้สูตร  
  
2. คำนวณหาค่า    ของแต่ละ STA. บนโค้งดิ่ง จากนั้นคำนวณหาค่าระดับบน Grade line หรือค่าระดับบนเส้นสัมผัสของ STA เหล่านั้น โดยใช้สูตร   วิธีนี้จะใช้ค่า ตลอดระยะของ L สำหรับค่า   จะใช้ในการหาค่า e
3. คำนวณหาค่า  ของแต่ละ STA. ใช้สูตร   ค่า  นี้จะเป็นค่าผลต่างของระยะในแนวดิ่งจากจุดเริ่มต้นโค้ง (PVC) ถึงจุด (STA.) ใดๆบนเส้นโค้ง
4. คำนวณหาค่าระดับบนโค้งจากสูตร   
5. คำนวณค่า First difference ของแต่ละ STA. โดยใช้สูตร    ซึ่งเมื่อนำไปเขียนกราฟจะเป็นเส้นตรง และค่า First difference ที่ STA. PVC ที่ STA. PVT จะต้องเท่ากับ  และที่จุด Vertex point จะต้องเท่ากับ 0
6. ตรวจสอบการคำนวณโดยการคำนวณหาค่า Second difference โดยใช้สูตร  ซึ่งค่า Second difference จะมีค่าคงที่และจะต้องเท่ากันทุกตัวและเท่ากับ  ถ้าการคำนวณถูกต้อง

ค่าต่างๆ ที่คำนวณได้จะถูกนำมาใส่ไว้ในตารางที่จัดเตรียมขึ้นสำหรับการวางโค้งดิ่งดังแสดงในตาราง

> > > 2. คำนวณค่าระดับบนโค้งดิ่งด้วยวิธี Vertex Form < < <

สิ่งที่ควรรู้ 1. PVC คือ จุดเริ่มโค้ง(point of curvature)
     2. PVT  คือ จุดสุดโค้ง(point of tangency)
     3. PVI คือ จุดเปลี่ยนโค้ง(point of intersection)
     4. L คือ ความยาวโค้ง(length of curve) เป็นความยาวโค้งในแนวราบ
     5.  คือ เกรด(%)ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PC (Back tangent)
       6.  คือ เกรด(%)ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PT (Forward tangent)
              7. A คือ ผลต่างพีชคณิตของเกรดระหว่าง PC และ PT ที่จุด PI 

A > 0 โค้งดิ่งหงาย (sag curve)

A < 0  โค้งดิ่งคว่ำ (summit curve)

              8. H คือ ระยะในแนวดิ่งระหว่าง PI กับเส้นโค้งพาราโบลา
              9. R คือ รัศมีความโค้งที่จุดVertex  


- ตัวอย่าง   คำนวณค่าระดับทุกๆ ระยะ 25 เมตรบนโค้งดิ่งที่ประกอบด้วยเส้นเกรด (Grade line) ที่มีความชันเมื่อเข้าโค้ง (upgrade, g1) +1%  และเมื่อออกโค้ง (downgrade, g2) -2%  ตัดกันที่จุด PVI STA. 10+500 มีค่าระดับ = 100 เมตร และกำหนดให้มีความยาวของเส้นโค้งในแนวราบ(horizontal surface, L) = 200 เมตร

ขั้นตอนการดำเนินงาน           
1. คำนวณค่าพารามิเตอร์ a โดยใช้สูตร  , ค่า h โดยใช้สูตร   และค่า  โดยใช้สูตร    
2. คำนวณหาค่า    ของแต่ละ STA. บนโค้งดิ่ง
3. คำนวณหาค่าระดับบน Grade line หรือค่าระดับบนเส้นสัมผัสของ STA. เหล่านั้น โดยใช้สูตร   วิธีนี้จะใช้ค่า    ตลอดระยะของ L
4. คำนวณค่าระดับ(Elevation on Curve) ของแต่ละ STA. โดยใช้สูตร  
5. คำนวณค่า First difference ของแต่ละ STA.โดยใช้สูตร  ซึ่งค่า ∆′ ที่ PVC STA. จะมีค่าเท่ากับ  และค่า ∆′ ที่ PVT STA. จะมีค่าเท่ากับ   และเมื่อนำไปเขียนกราฟจะเป็นเส้นตรง และค่า First difference ที่ STA. PVC จะต้องเท่ากับ  ที่ STA. PVT จะต้องเท่ากับ   และที่จุด Vertex point จะต้องเท่ากับ 0
6ตรวจสอบการคำนวณโดยการคำนวณหาค่า Second difference โดยใช้สูตร  ซึ่งค่า Second difference จะมีค่าคงที่และจะต้องเท่ากันทุกตัวและเท่ากับ  ถ้าการคำนวณถูกต้อง
> สรุปสูตรการใช้พาราโบลาในการคำนวณโค้งดิ่ง <

ตัวอย่าง วิธีการหาความยาวโค้ง


ตัวอย่างII : เส้นเอียงลาดลง ( g1 ) = 4% ตัดกับเส้นเอียงลาดขึ้น ( g2 ) = 5 % ที่ STA. 2 + 450.000 ที่มีค่าระดับเท่ากับ 216.420 เมตรและที่ STA. 2 + 350.000 ใต้ท้องสะพานมีค่าระดับ 235.540 เมตรต้องการวางโค้งทางดิ่งรูปพาราโบล่าแบบสมมาตรเชื่อมแนวเส้นลาดเอียงทั้งสองโดยมีช่องว่างระหว่างใต้ท้องสะพานกับถนนเท่ากับ 14 เมตร ดังรูป
จงคำนวณหาค่าระดับบนโค้งที่ตำแหน่ง STA. 2 + 450
1: ค่าระดับบนโค้งหรือบนถนนมีค่ากับ 218.670 เมตร
2: ค่าระดับบนโค้งหรือบนถนนมีค่ากับ 220.920 เมตร
3: ค่าระดับบนโค้งหรือบนถนนมีค่ากับ 221.540 เมตร
4: ค่าระดับบนโค้งหรือบนถนนมีค่ากับ 225.420 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2 บนถนนมีค่ากับ 220.920 เมตร


Video การวางแนวโค้งดิ่ง




Video โจทย์ตัวอย่างการวางแนวโค้งดิ่ง
-------------------------------------------------------------------