Search

วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558

7.Horizontal Curve

โค้งราบ(Horizontal curve)

ที่มา : https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiz-GOD5deSnTpN4938vuvcCRm4sExGuXAEZIIDBvgOqdp8_1_MatRSBGd-CIR1gt6kF7YFStzTsJQFLcOi9vsz2KXyy0mKgByplNESOIGVuTuT99w7d-4N_tk_sHX5dBBmQEzASUreiU8/s1600/10.jpg


               ในการออกแบบโค้งราบปัจจุบันมีอยู่หลายแบบ  ได้แก่ Simple curve, Reverse  curve, Compound curve และ Spiral curve ข้อมูลของแต่ละโค้งจะมีอยู่ในแบบก่อสร้าง  รายละเอียดข้อมูลที่จะต้องเตรียมในแต่ละโค้ง  ได้แก่ 
               - PI  Sta.
               - ค่ามุม  Delta
               - ค่ามุม  Degree  of  Curve

               - ค่าความเร็วออกแบบ  (Design  Speed)
               - แสดงข้อมูลโค้งโดยสังเขป

   1.โค้งเดี่ยว    

ที่มา : http://km.railway.co.th/info/pdf/5a85a95806e3abb424ead3a1b76eff6b.pdf



องค์ประกอบของโค้งวงกลม

PI   คือ จุดสกัดหรือจุดตัดระหว่างแนวเส้นตรงสองแนวที่มีการเชื่อมโยงด้วยโค้งแนวราบ 
      คือ มุมบ่ายเบนที่จุด
 PIT คือ ระยะสัมผัสส่วนโค้ง
  E    คือ ระยะจากจุดสกัดถึงจุดกึ่งกลางของโค้งแนวราบ 
  M   คือระยะจากกึ่งกลางของเส้นคอร์ดถึงจุดกึ่งกลางของโค้งแนวราบ
   L   คือ ความยาวโค้ง 
   C   คือ ความยาวของเส้นคอร์ด 
   R   คือ รัศมีโค้ง 
  PC  คือ จุดต้นโค้ง 
  PT  คือจุดปลายโค้ง 

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ


 ความสัมพนัธ์ระหวา่ งแนวโค้ง (L) กับรัศมี (R) สามารถแสดงได้ดังสมการที่ (1)

R = ( L/ ํ) x (180 ํ/ π)

ยกตัวอยา่งเช่น  ถ้า L = 100 m และ  = 10 ํ รัศมีของโค้งดังกล่าวจะมีค่าเท่ากับ

R = ( 100/10 )x( 180/π ) = 572.958 m

 คำนวณความยาวโค้ง

 - L = R 

 คำนวณเส้นคอร์ดยาว

 - Lc = 2R( sec/2  -1)

 คำนวณระยะนอก

- E = R(sec /2)

 คำนวณระยะกึ่งกลาง

  - M = R(1-  cos/2)

 คำนวณระยะสัมผัส

 T = Rtan/2
ที่มา : http://km.railway.co.th/info/pdf/5a85a95806e3abb424ead3a1b76eff6b.pdf

สูตรการคำนวณหามุมเบนของคอร์ดต่างๆ

VIDEO ตัวอย่างการวางแนวโค้งวงกลม




   2.โค้งผสม Compound Curve   

ที่มา : http://cms.toptenthailand.net/file/journal/20140225141552624/20140225141552624.jpg

โค้งผสม คือ โค้งที่ประกอบด้วยโค้งวงกลมหลายโค้งมาต่อกัน และจุดศูนย์กลางโค้งทั้งหมดจะอยู่ซีกเดียวกันของเส้น สัมผัส และรัศมีของโค้งที่เชื่อมต่อกันจะยาวไม่เท่ากัน จุดที่ความยาวโค้งต่อกัน คือ Point of compound curve (PCC) 
ส่วนสำคัญของโค้งผสม : มุมเหของโค้ง ร่วม (ΣΔiรัศมีของโค้งร่วม (Riเส้น สัมผัสเส้น ยาว/เส้นสั้น (TL/TS) และ Δ ของโค้งผสม 

ประโยชน์ของโค้งผสม 

1. ใช้ในบริเวณที่เป็นภูเขาเพื่อปรับเส้นทาง ถนน ให้เข้ากับภูมิประเทศและเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการสัญจร
2. ใช้ในการออกแบบช่องทางสำหรับเลี้ยวในกรณีที่ถนนสายหลักกับถนนสายรองมาตัดกัน
3. ใช้ในบริเวณทางต่อเชื่อมระหว่างถนนและทางด่วน (Ramp) ที่บริเวณ ทางขึ้นหรือทางลง หรือใช้ในการออกแบบโค้ง ของทางแยกต่างระดับ (Interchange) โดยใช้ร่วมกับโค้งก้นหอย 
  
  
โค้งผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง : Two center compound curve 
ข้อมูลที่ทราบจากการสำรวจภาคสนาม: Δของแต่ละโค้งย่อยและค่า R ของแต่ละโค้งย่อย 

รูป
รูป
รูป
รูป


การพิสูจน์สูตรโดยใช้ระบบพิกัดฉาก

รูปรูป
        รูป



VIDEO การวางแนวโค้งผสม





VIDEO ตัวอย่างการวางแนวโค้งผสม





   3. โค้งกลับทิศ ( Reverse Curve )    

ตามปกติโค้งผสมจะมีจุดศูนย์กลางอยู่ข้างเดียวกัน แต่ในกรณีที่โค้งผสมมีจุดศูนย์กลางอยู่ตรงข้ามกันนั้น เราเรียกโค้งดังกล่าวว่าโค้งกลับทิศ หรือ Reverse curve โค้งกลับทิศจะประกอบด้วยโค้งสองโค้งโดยมีจุดร่วม หรือ PRC(Point of reverse curve) หรือมีเส้นสัมผัสร่วมที่ต่อเชื่อมกันระหว่างโค้งเรียกว่า Intermediate tangent โค้งกลับทิศมักใช้ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขา หรือในเขตเมืองที่ไม่สะดวกต่อการรื้อตำแหน่งของเส้นโค้งทั้งสอง  
          โค้งผสมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ตรงข้ามกัน ประกอบด้วยโค้ง สองโค้งมีจุด PRC (Point of reverse curve) เป็นจุดร่วมหรือมีเส้น สัมผัสที่ต่อเชื่อมระหว่างโค้ง เรียกว่า เส้น สัมผัสร่วม (Intermediate tangent) 

รูป


รูป

ประโยชน์ของโค้งกลับทิศ 

       - โค้งกลับทิศมักใช้ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขา หรือในเขตเมืองที่ไม่สะดวกต่อการรื้อถอนและเวียนคืน 
  - จะสามารถลดผลกระที่จะเกิดต่อสิ่งแวดล้อมน้อย 

ลักษณะโค้งกลับทิศ

1. โค้งกลับทิศที่มีจุดเชื่อมต่อกันที่จุด PR  
      1.1 รัศมียาวไม่เท่ากัน คำนวณเสมือนโค้งวงกลมสองวงต่อกัน
      1.2 รัศมียาวเท่ากันคำนวณหารัศมีที่ใช้กับทั้งสองโค้งได้ดังนี้ 
รูป
2. โค้งกลับทิศที่มีเส้นสัมผัสขนานกัน 
      2.1 รัศมีเท่ากัน
รูป
2.2 รัศมีไม่เท่ากัน
3. โค้งกลับทิศที่เส้นสัมผัสไม่ขนานกันแต่รัศมีเท่ากัน

  - AB ได้ จากการวางแนว กําหนดมุม αβ หา Δ1และ Δ2
รูป
รูป

VIDEO ตัวอย่างการวางแนวโค้งกลับทิศ









   4.โค้งก้นหอย Transition Curve or Spiral Curve     

ที่มา : https://preede.files.wordpress.com/2011/09/92.jpg
เป็นโค้งราบนิยมใช้กับถนนหรือทางรถไฟที่ต้องการให้ยวดยานเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงใช้แทนโค้งอันตราย(Sharp curve)ทางเลี้ยว ทางแยกต่างระดับ (Interchange) ทางแยก (Intersection) ช่วยให้คนขับสามารถค่อยๆบังคับให้เลี้ยวได้ง่ายขณะที่ใช้ความเร็วสูงทำให้รถไม่เสียหลัก
แนวคิดของ Transition curve หรือ Spiral curve ทางเรขาคณิต 
          1. แนวคิดลดรัศมี ของโค้งวงกลม(R) ลงเท่ากับ P
 
2. แนวคิดเลื่อนโค้งวงกลมลงมาโดยที่ โค้งไม่เปลี่ยนแปลงเลย (Shift circular curve) 
3. แนวคิดให้รัศมีโค้งและองศาโค้งเหมือนเดิม และจุดศูนย์กลางคงที่แต่เลื่อนเสนสัมผัสโค้งวงกลมออกไป (Shift tangent line) 


4. เนื่องจากโค้งวงกลมเดิมเป็นโค้งอันตราย จึงเปลี่ยนเป็นโค้งผสมเพื่อให้สามารถใส่ Spiral curve ได้ 






VIDEO ตัวอย่างการวางแนวโค้งก้นหอย





----------------------------------------------------------------------------------------


        หนังสือการสำรวจเส้นทาง Route Survey: ยรรยง ทรัพย์สุขอำนวย

1 ความคิดเห็น: